home » 7 นวัตกรรม ผ้าปิดแผล ที่ช่วยทำให้แผลหายเร็วขึ้น »

7 นวัตกรรม ผ้าปิดแผล ที่ช่วยทำให้แผลหายเร็วขึ้น

นวัตกรรม ผ้าปิดแผลที่ได้รับการพัฒนาจาก นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และแพทย์ ได้ร่วมกันคิดค้น วิธีการใหม่ ๆ ที่จะช่วยแผลพื้น ๆ เช่น และถูกของมีคมบาด แผลถลอก นักวิจัยได้ทำการศึกษา ทดลองเกี่ยวกับ ผ้าปิดแผลที่จะช่วยทำให้ เลือดหยุดไหล และแผลหายเร็วยิ่งขึ้น ไม่ทิ้งร่องรอยแผลเป็นไว้ ด้านล่างเป็นตัวอย่างของนวัตกรรมดังกล่าว ที่อาจจะเป็นเครื่องมือที่ใช้โดยทั่วไปในอนาคต หรืออาจถูกลืมไว้เป็นเพียงงานวิจัย  

 

 

ChitoGauze

ChitoGauze

(Photograph courtesy of HemCon Medical Technologies, Inc.)


ผลิตโดย HemCon Medical Technologies manufactures bandages and wound dressings โดยบริษัทนี้ใช้ ไคโตซาน และ Biopolymer ที่ทำจากเปลือก และกระดอง ของสัตว์ทะแล เช่น ปู และกุ้ง โดย ไคโตซานจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก จะดึงดูดประจุลบที่ผิวของเม็ดเลือดแดง เมื่อทั้งสองมาติดกัน การเกิดการแข็งตัวของเลือด ณ.จุดนั้นจะเกิดขึ้น ผ้าปิดแผลชนิดนี้ ได้มีการใช้แล้วที่ประเทศ อีรัก ผลิตภัณฑ์ตัวล่าสุดของบริษัทนี้คือ ChitoGauze.
 

Gecko Bandage

Gecko Bandage

(Photograph by Bob Langer and Jeff Karp, MIT)


ผ้าปิดแผลชนิดนี้ นักวิจัยแห่ง MIT ได้แรงบรรดาลใจมากจาก เท้าของจิ้งจก ที่สามารถเกาะติด และไต่ผนัง กำแพงได้ จึงได้ผลิดผ้าปิดแผลชนิดนี้ ที่มีผิวสังเคราะห์ที่มีรูปร่างคล้ายเท้าของจิ้งจก หรือตุ๊กแก เมื่อดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ผ้าพันแผลชนิดนี้จะมีคุณสมบัติพิเศษ คือ มีความยึดเกาะที่ดีมาก ทำให้สามารถติดบนแผลที่เปียกได้ และสามารถสลายตัวไปได้เอง จึงเป็นไปได้ว่าผลิตภัณฑ์นี้ จะช่วยปิดแผลที่เกิดขึ้นในอวัยวะภายในได้ในอนาคต
 

QuikClot

QuikClot

(Photograph courtesy of Z-Medica Corporation)


ผลิตภัณฑ์ QuikClot  ผลิตโดย Z-Medica Corporation ผลิภัณฑ์ชนิดนี้ ได้มีการใช้แล้วในสนามรบ ที่ประเทศอีรัก และ อัฟกานิสถาน และในหน่วยงาน บางหน่วยงานของสหรัฐอเมริกา ผลิตภัณฑ์นี้ผลิตมาจาก  kaolin clay ซึ่งเป็นสารธรรมชาติ ที่ทำให้เกิดการแข็งตัวของเลือด อณูเล็ก ของ aluminosilicate จะบรรจุสารชนิดนี้ เป็นตัวกระตุ้นทำให้เลือดเกิดการแข็งตัว ผลิตภํณฑ์ตระกูล QuickClot ผลิตและพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในโรงพยาบาล และสำหรับบาดแผลที่พบได้ทุกวัน
 

Ultrasound Device

Ultrasound Device

(Photograph courtesy of George K. Lewis, Cornell)


Forget bandages—เครื่องมือชนิดนี้ไม่ใช้ผ้าพันแผล หรือผ้าปิดแผล แต่เป็นเครื่องกำเนิด อัลตร้าซาวด์ ขนาดเล็ก(ขนาดพกพา) ที่ผลิตคลื่น อัลต้าซาวด์พลังงานสูง โดยคลื่นที่ผลิตได้มีกำลังพอที่จะใช้ช่วยหยุดเลือดในแผลเปิด หน่วยงานทางทหารของสหรัฐได้พกพา เครื่องมือชนิดนี้ไปด้วยในสนามรบ เพื่อช่วยหยุดการไหลของเลือดของผู้ที่ได้รับบาดเจ็บในสนามรบ
 

Scaffold Bandage

Scaffold Bandage

(Photograph courtesy of University of Sheffield)

Scientists at the University of Sheffield have created a superfine, biodegradable bandage that acts as a skin farm over the wound. Doctors take a biopsy of patients' skin cells, which are attached to the scaffold before the dressing is applied over a wound. The skin cells multiply and grow over the scaffold, which eventually dissolves and leaves the patient's own cells in its stead.
 

Electric Bandage

Electric Bandage

(Photograph courtesy of Vomaris, Inc.)

Cut won't heal? Electrocute it. Research has shown that the skin's own microcurrents play an important role in wound healing. Clinical trials have now shown that a bandage that distributes mild electrical current across the surface of a wound significantly speeds healing—even for wounds that have proved resistant to other treatments. The surface of the bandage, a product of biotechnology company Vomaris, is covered in microbatteries which are inert when dry. Wetting the bandage activates the circuit, and small currents are applied over the surface of the wound.
 

Self-Assembling Gel

Self-Assembling Gel

(Photograph by Kathy Atkinson, University of Delaware)

University of Delaware researchers Joel Schneider and Darrin Pochan have patented a novel hydrogel composed of self-assembling peptides; when the gel is injected into a wound, it becomes rigid. But because it remains porous, the researchers hope it will be able to deliver drugs or regenerative cells into a wound. (Recent research from their labs reveals that living cells can, indeed, be encapsulated in this gel and successfully delivered into a wound.) The gels also have antimicrobial properties.

 

*ข้อความที่เป็นโฆษณาทั้งหมดใน eldercarethailand.com ท่านผู้อ่านโปรดใช้วิจารณญาณของท่านในการตัดสินใจ กรุณารวบรวมข้อมูลให้รอบด้านก่อนตัดสินใจเลือก ทาง Elder Care Thailand ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำของทางศูนย์ดูแลฯ ใด ๆ ทั้งสิน*

Copyright © 2011 ข้อมูล ดูแลผู้สูงอายุ ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุ Eldercarethailand. Designed by eldercarethailand